หลักสูตร การเตรียมความพร้อมรับมือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) นายจ้าง,ผู้บริหาร, HR. ต้องปฏิบัติอย่างไร..? 

 หลักการและเหตุผล

      ข้อมูลส่วนบุคคล ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ซึ่งจะมีผลบังคับใช้กับองค์กรของบริษัทเอกชนและองค์กรอื่นๆใน วันที่ 1 เดือน มิถุนายน 2564นี้ ดังนั้นเจ้าของกิจการหรือผู้บริหารงานในองค์กร จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจกับเนื้อหาของกฎหมายฉบับนี้ เพราะจะต้องทำการเก็บรวบรวมใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้างในองค์กรและรวมไปถึงข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ร่วมธุรกิจทางการค้า หรือผู้มาติดต่องานกับองค์กร และการเรียนรู้เพื่อรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลที่องค์กรเก็บรักษาไว้ หากข้อมูลส่วนบุคคล ดังกล่าวถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจนเป็นเหตุให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้รับความเสียหายทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ผู้ละเมิดสิทธิจะมีความผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา

 วัตถุประสงค์       

เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนาทราบและเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้แล้วนำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานที่ปฏิบัติงานเป็นลูกจ้างอยู่ ,ที่จะเข้ามาเป็นพนักงานใหม่, ที่เป็นคู่ร่วมธุรกิจกับนายจ้างหรือผู้ที่มาติดต่องานกับองค์กร การแจ้งวัตถุประสงค์ในการเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้เหตุผลอย่างไร, มีขั้นตอนในการเรียกเก็บอะไรบ้าง..

เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคลให้มีความ ปลอดภัย มิให้บุคคลใด บุคคลหนึ่ง ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง เข้าถึงข้อมูล ส่วนบุคคลของพนักงานได้ หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน นายจ้างจะกระทำได้ ก็ต่อเมื่อต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อน หรือต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายฉบับนี้มีอย่างไรบ้าง…

เพื่อให้นายจ้างหรือผู้บริหารทราบถึง ในกรณีมีการละเมิดสิทธิ ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน เช่น เก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานจากแหล่งอื่น ,เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานโดยไม่ได้รับอนุญาต หรือในกรณีนำข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานดังกล่าวไปเปิดเผย เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนหรือผู้อื่นจะมีความผิดทางแพ่งและทางอาญาอย่างไร…

หัวข้อในการอบรม

หมวด : 1 สาระที่สำคัญของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีผลบังคับใช้

วัตถุประสงค์ของหน่วยงานภาครัฐ ที่ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ฉบับนี้ขึ้นเพื่ออะไร..?

ข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไร..?

การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจัดทำขึ้นเพื่ออะไร..?

มีขอบเขตการใช้บังคับ ตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอะไรบ้าง..?

ข้อยกเว้นการใช้บังคับตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีหน่วยงานใดบ้าง..?

บุคคลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลส่วนบุคคลมีใครบ้าง..?

สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มีอะไรบ้าง..?

การยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ต้องทำอย่างไร..?

ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล คือใคร.. มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลคือใคร..มีหน้าที่อะไรบ้าง..?

การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นต้องปฏิบัติอย่างไร…?

การเคลื่อนย้าย หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังหน่วยงานอื่น ต้องปฏิบัติอย่างไร..?

หมวด : 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่ นายจ้าง, ผู้บริหาร, เรียกเก็บและเปิดเผยได้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บได้จากลูกจ้างภายในองค์กร มีอะไรบ้าง..?

 * 1. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของลูกจ้าง จะกระทำได้ และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

ส่วนที่ 2 ข้อมูลส่วนบุคคลที่นายจ้างเรียกเก็บจาก คู่ค้า จากผู้มาติดต่องาน การเรียกเก็บ ขอบเขตที่ทำได้มีอะไรบ้าง..?

 * 2. 1 กรณีนายจ้างเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ของคู่ค้าของผู้มาติดต่องานจะกระทำได้และชอบด้วยกฎหมายต้องปฏิบัติอย่างไร..?

ส่วนที่ 3 นายจ้าง  ผู้บริหาร ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล และ/หรือ ผู้ที่ละเมิดสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล             ของผู้อื่น ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ จนเป็นเหตุให้ เจ้าของข้อมูลได้รับ ความเสียหาย อับอายเสียซื่อเสียง                          เสียสิทธิจะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญา และทางปกครอง อะไรบ้าง..?

 * 3. 1 การรับผิด ทางแพ่ง   ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอะไรบ้าง..?

 * 3. 2 การรับผิด ทางอาญา  ต้องระวางโทษจำคุก 6 เดือน – 1 ปี หรือปรับ 500,000 – 1,000,000บาท เพราะอะไร..?

  * 3. 3 การรับผิดทางปกครอง  ต้องเสียค่าปรับเป็น 1,000,000 บาท เพราะอะไร..?

  * 3. 4 การรับผิดทาง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ กรณีละเมิดสิทธิลงทาง สื่อโซเชียลมีเดีย จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 5 การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นด้วยการโฆษณา จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 6  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 7  การรับผิดทางอาญา กรณีหมิ่นประมาท ผู้อื่นซึ่งหน้า จะมีความผิด ทางแพ่ง – ทางอาญาอะไรบ้าง..?

  * 3. 8  ผลสรุป นายจ้าง, ลูกจ้าง, จะได้รับประโยชน์จากพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้มีอะไรบ้าง..?

แจกฟรี : ตัวอย่างเอกสาร สำหรับการจัดทำ และเรียกเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานในองค์กรและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับองค์กร

ถาม – ตอบ – แนะนำ

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน อาจารย์ สมบัติ น้อยหว้า

          ประวัติการทำงาน / ประสบการณ์

เป็นผู้พิพากษาสมทบศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ 9 ปี

เป็นผู้ไกล่เกลี่ยคดีแรงงานในศาลแรงงานกลางกรุงเทพฯ

เป็นกรรมการ (บอร์ด) ค่าจ้างขั้นต่ำ ที่กระทรวงแรงงาน

เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงาน จดทะเบียน ที่กระทรวงแรงงาน

เป็นอนุกรรมการประกันสังคม ณ สำนักงานใหญ่ จ. นนทบุรี

เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านแรงงาน จากสถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ.2562

เป็นที่ปรึกษาด้านแรงงานบริษัทเอกชนในเขตุกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

เป็นวิทยากรอิสระให้ความรู้ด้านกฎหมายแรงงาน มากกว่า 15 หลักสูตร

อบรมแบบ ONLINE ผ่าน ZOOM

เวลาอบรม 13.00-17.00 ได้รับใบประกาศนียบัตร ส่งทาง EMS

ราคาท่านละ 1,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

(โปรโมชั่นอบรม 4 ท่าน จ่าย 3 ท่าน) เฉลี่ยนท่านละ 1,425 บาท

………………………………………………..

อบรมแบบพบอาจารย์ ONSITE จัดอบรมที่ NOVOTEL สุุขุมวิท20 

เวลาอบรม 9.00-16.00 ได้รับใบประกาศนียบัตรในห้องอบรม

ราคาท่านละ 3,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

โปรโมชั่น ลงทะเบียน 3 ท่าน ท่านละ 3,000 บาท

ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท

ฟรี อาหารว่าง อาหารกลางวัน เอกสารอบรม กระเป๋าผ้า สมุด ปากกา

………………………………………………..

ติดต่อสอบถามจัดหลักสูตร IN HOUSE & PUBLIC TRAINING

TEL : โทร 099-162-9559 / 098-820-9929 / 092-624-7032

E-MAIL: CONTACT.TESSTR@GMAIL.COM

LINE ID : @TESSTRAINING

FACEBOOK : TESSTRAININGPAGE

Copyright © 2023 Tess Training Company Limited | All rights reserved.
error: Content is protected !!