คณะกรรมการสวัสดิการยุคใหม่…พนักงาน LIKE ฝ่ายบริหาร SHARE (SUPER MODERN WELFARE COMMITTE)

คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นตัวแทนของลูกจ้างร่วมปรึกษาหารือกับนายจ้างในการจัดสวัสดิการ และเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความต้องการสวัสดิการของลูกจ้างให้นายจ้างทราบ รวมทั้งร่วมปรึกษาหารือให้ข้อเสนอแนะ ตลอดจนตรวจสอบ ดูแล การจัดสวัสดิการภายในสถานประกอบกิจการ และสร้างความพึงพอใจให้แก่นายจ้างและเพื่อนพนักงาน ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการสวัสดิการฯ ที่ดีต้องมีจิตสำนึกการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าขององค์กร (SENSE OF OWNERSHIP)ต้องมีเทคนิคในการดำเนินการประชุม ต้องมีเทคนิคในการสื่อสาร และมีการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารสวัสดิการที่บริษัทฯ มีอยู่ในเกิดประโยชน์สูงสุดแบบWIN-WINแก่ทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง

สถาบันฯ ได้ออกแบบและพัฒนาหลักสูตรขึ้นจากประสบการณ์ในการบริหารคณะกรรมการสวัสดิการฯ มากว่า 24 ปี ที่จะช่วยให้คณะกรรมการสวัสดิการฯ องค์กรของท่านมีมุมมองใหม่ในการบริหารสวัสดิการให้สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางขององค์กร และความต้องการของพนักงานอย่างแท้จริง บนพื้นฐานของกำลังและความเป็นไปได้

วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้

เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ

เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารสวัสดิการในสถานประกอบการ

เพื่อเป็นการเสริมสร้างมุมมองและเทคนิคในการบริหารสวัสดิการยุคใหม่ที่สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางขององค์กร และความต้องการของพนักงาน

เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ และเทคนิคที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการบริหารงานสวัสดิการในสถานประกอบการได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ พนักงานLIKEฝ่ายบริหาร SHARE

หัวข้อสำคัญการเรียนรู้

ส่วนที่  1 :  เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ (INTRODUCTION TO WELFARE COMMITTEE)

ความหมายของคณะกรรมการสวัสดิการ (คกส.)

ความหมายของสวัสดิการแรงงาน

ประโยชน์ของการจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ

WORKSHOP1 : คกส. ที่ดีควรคุณลักษณะของHEAD-HAND-HEART อย่างไรหนอ?

ส่วนที่  2 :  การปลูกจิตสำนึกการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าขององค์กรของคณะกรรมการสวัสดิการ (SENSE OF OWNERSHIP)

ส่วนที่  3 :  หน้าที่ความรับผิดชอบของนายจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการ (RESPONSIBILITIES OF THE EMPLOYER TO THE WELFARE COMMITTEE)

ส่วนที่  4 :  กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานสวัสดิการในสถานประกอบการ (THAI LABOR LAWS RELATING TO WELFARE MANAGEMENT IN COMPANY)

กฎหมายที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานสวัสดิการในสถานประกอบการ

บทกำหนดโทษตามกฎหมายที่เกี่ยวกับการการบริหารคณะสวัสดิการกรณีฝ่าฝืน

ส่วนที่  5 :  แนวทางการดำเนินงานของคณะกรรมการสวัสดิการอย่างมีประสิทธิภาพ(EFFECTIVE WELFARE COMMITTEE GUIDELINES)

ส่วนที่  6 :  เทคนิคการบริหารงานสวัสดิการตามแนวทางการประกวดสถานประกอบการดีเด่นด้านสวัสดิการและแรงงานสัมพันธ์ (WELFARE MANAGEMENT TECHNIQUE ACCORDING TO THE BEST PRACTICES CONTEST FOR WELFARE AND LABOR RELATIONS)

ส่วนที่  7 : การสำรวจและบริหารสวัสดิการที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแบบ WIN-WIN(SURVEY AND MANAGEMENT OF WELFARE AVAILABLE)

แนวทางการสำรวจความพึงพอใจในสวัสดิการที่มีอยู่ด้วย WELFARE VISUAL AWAKENING DIALOG

WORKSHOP2 : การสำรวจความพึงพอใจในสวัสดิการที่มีอยู่ด้วยWELFARE VISUAL AWAKENING DIALOG

แนวทางการนำผลจากWELFARE VISUAL AWAKENING DIALOGไปบริหารสวัสดิการที่มีอยู่ในเกิดประโยชน์สูงสุดแบบ WIN-WIN

ส่วนที่  8 :  แนวทางการประชุมปรึกษาหารือระหว่างฝ่ายนายจ้างกับคณะกรรมการสวัสดิการ(GUIDELINES FOR MEETING BETWEEN THE EMPLOYER AND THE WELFARE COMMITTEE)

แนวทางการประชุมปรึกษาหารือสำหรับคณะกรรมการสวัสดิการที่มีประสิทธิภาพ

สวัสดิการตามที่กฏหมายกำหนดที่ควรจะนำเข้าหารือ

สวัสดิการนอกเหนือที่กฏหมายกำหนดที่ควรจะนำเข้าหารือ

แนวทางในการนำผลจากการหารือไปบริหารจัดการ

ส่วนที่  9 : การสื่อสารและประสานงานในการบริหารสวัสดิการแบบมีส่วนร่วม (COMMUNICATION AND COORDINATION IN PARTICIPATORY WELFARE MANAGEMENT)

แนวทางการสื่อสารและประสานงานแบบPOSITIVE ACTIONเพื่อความสำเร็จในการบริหารสวัสดิการแบบมีส่วนร่วม

สวัสดิการใดที่ควรสื่อสาร

แนวทางการจัดทำแผนงานสื่อสารสวัสดิการในองค์กร

WORKSHOP3 : ฝึกปฏิบัติจัดทำแผนงานสื่อสารสวัสดิการในองค์กร

ส่วนที่  10 :  ข้อควรคำนึงในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสวัสดิการ (DO AND DON’TOF THE WELFARE COMMITTEE)

รูปแบบ/วิธีการเรียนรู้

O การบรรยาย (LECTURE) ในรูปแบบการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (ADULT LEARNING)ที่มีการระดมความคิดแบบ มีส่วนร่วมระหว่างฝึกอบรม (PARTICIPATIVE TECHNIQUES)ช่วยให้ผู้เรียนรู้นำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในการบริหารแรงงานสัมพันธ์ เพื่อสร้างความผูกพันในองค์กร

O การทำWORKSHOP

O การนำเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (DISCUSSION)เรียนรู้ซึ่งกันและกัน

O การตอบข้อซักถาม : เพื่อเสริมสร้างความรู้เข้าใจที่ชัดเจน และกระตุ้นผู้เรียนรู้ให้คิดตาม

หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ

คณะกรรมการสวัสดิการ หัวหน้างาน หัวหน้าแผนก ผู้จัดการ และฝ่ายทรัพยากรบุคคล

วิทยากร  : อาจารย์ ธนุเดช ธานี (อ.ต้น)

ราคาท่านละ 3,900 บาท/วัน (ไม่รวม VAT)

(สมาชิกโอนก่อน ท่านละ 3,500 บาท)

ราคาสุดพิเศษอย่างยิ่ง

ลงทะเบียน 3 ท่าน ท่านละ 3,200 บาท

ลงทะเบียน 4 ท่าน ขึ้นไปท่านละ 2,900 บาท

 

ราคาดังกล่าว ฟรี

1) เอกสารประกอบการสัมมนา (เข้าเล่ม)

2) ใบประกาศผ่านการอบรม

3) อาหารเบรก 2 มื้อ อาหารกลางวันบุฟเฟ่ต์โรงแรม รับกระเป๋าผ้าสมุดปากกา หน้างาน

 

 

สถานที่อบรม: โรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท 20

ฟรีเอกสารประกอบการอบรม อาหารว่าง 2 มื้อ และอาหารกลางวัน

 

ติดต่อสอบถามจัดหลักสูตร IN HOUSE & PUBLIC TRAINING

TEL : 02-577-5369, 099-162-9559

E-MAIL: CONTACT.TESSTR@GMAIL.COM

LINE ID : @TESSTRAINING

FACEBOOK : TESSTRAININGPAGE

Copyright © 2023 Tess Training Company Limited | All rights reserved.